|
|
|
|

 |
การเกษตร เป็นอาชีพหลักของประชากรตำบลโรงช้าง
แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้แก่ ทำนา และ ทำสวน |

 |
การประมง ได้แก่ เลี้ยงปลา |

 |
การปศุสัตว์ ได้แก่ เลี้ยงไก่ เป็ด เป็นต้น |
|
|
|
|
|
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เของตำบลโรงช้างเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ
อยู่สูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 37.95 เมตร เหมาะแก่การเกษตรกรรมโดยเฉพาะการปลูกข้าว โดยอาศัยแหล่งน้ำธรรมชาติเพื่อการเกษตรกรรม และระบบชลประทานโครงการส่งน้ำ
และบำรุงรักษาดงเศรษฐี มีแม่น้ำไหลผ่าน 1 สาย คือ แม่น้ำพิจิตร (น่าน) เก่า ซึ่งไหลผ่านหมู่บ้านเกือบทุกหมู่บ้าน ยกเว้นเพียง หมู่ที่ 5 บ้านคลองโพธิ์ |
|
|
|
|
|
|
ลักษณะภูมิอากาศของตำบลโรงช้าง อยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและใต้ มีสภาพอากาศเหมาะสมสำหรับการเพาะปลูกทั้งปี |
อุณหภูมิของตำบลโรงช้าง มีอุณหภูมิสูงสุดในเดือน เมษายน
มีอุณหภูมิ 36.7 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำที่สุดในเดือน มกราคม อุณหภูมิต่ำที่สุด ที่ 20.1 องศาเซลเซียส มี 3 ฤดูกาล ดังนี้ |

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือน พฤษภาคม ถึงเดือน ตุลาคม |

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือน พฤศจิกายน ถึงเดือน ธันวาคม |

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือน มีนาคม ถึงเดือน เมษายน |
|
|
|
|
|
 |
|
วัด/สำนักสงฆ์ จำนวน 2 แห่ง คือ |

 |
วัดโรงช้าง หมู่ที่ 2 วัดโรงช้าง |

 |
วัดคลองโพธิ์ หมู่ที่ 5 บ้านคลองโพธิ์ |
|
|
|
|
 |
|
สถานศึกษาของตำบลโรงช้าง มีจำนวน 3 แห่ง ดังนี้ |

 |
โรงเรียนบ้านวังทับยา |

 |
โรงเรียนวัดโรงช้าง (ธรรมกิตติ์วิทยา) |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลโรงช้าง |
|
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
|
งานประเพณี "สงกรานต์ สรงน้ำพ่อปู่ บูชาหลักเมืองพิจิตร" |

 |
กำหนดจัดงาน ระหว่างวันที่ 9-10 เมษายนของทุกปี
(จัดพิธีบวงสรวงหลักเมือง ในวันที่ 9 เมษายนของทุกปี) |

 |
สถานที่จัดงาน บริเวณศาลหลักเมืองพิจิตร อุทยานเมืองเก่าพิจิตร ตำบลโรงช้าง อำเภอเมืองพิจิตร
จังหวัดพิจิตร |
|
|
|
|
|
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน จำนวน 1 แห่ง
ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 บ้านโรงช้าง |

 |
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน จำนวน 7 กลุ่ม |

 |
กองทุน สปสช. จำนวน 1 กองทุน |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|